วันอาทิตย์ที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2555

คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง


คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง

โดย สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์


ลิ้งค์ดาวโหลด : http://www.dms.moph.go.th/imrta/images/data/ht20121024.pdf

ขอบคุณที่มา : http://www.phimaimedicine.org/

คู่มือการรับรองสาเหตุการเสียชีวิต


คู่มือการรับรองสาเหตุการเสียชีวิต

โดยสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข 


ลิ้งค์ดาวโหลด :  http://healthdata.moph.go.th/km/download/book.pdf
ขอขอบคุณที่มา:http://www.phimaimedicine.org 

คู่มือการบันทึกเวชระเบียนสำหรับแพทย์ 2555


คู่มือคำแนะนำการบันทึกเวชระเบียนสำหรับแพทย์ 2555

โดยสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข 



ลิ้งค์ดาวโหลด ศูนย์มาตรฐานหรัสและข้อมูลสุขภาพแห่งชาติ กลุ่มพัฒนามาตรฐานรหัสด้านสุขภาพ

ขอบคุณที่มา : http://www.phimaimedicine.org/

วันเสาร์ที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2555

มาตรฐานการรักษาผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน 2555

มาตรฐานการรักษาผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน 2555

โดยกลุ่มงานอายุรศาสตร์หัวใจ สถาบันโรคทรวงอก กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข 



โหลด : http://www.cdi.thaigov.net/cdi/folder_a/folder_f/1aa.pdf

ขอบคุณที่มา : http://www.phimaimedicine.org/2012/10/blog-post_15.html

แนวทางเวชปฏิบัติการวินิจฉัยและรักษาโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน


แนวทางเวชปฏิบัติการวินิจฉัยและรักษาโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน (ฉบับปรับปรุง)

โดยสถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์
กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข



ขอบคุณที่มา : http://www.phimaimedicine.org/

วันพฤหัสบดีที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2555

แนวทางการวินิจฉัยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ พ.ศ. 2553

ผังการวินิจฉัยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ พ.ศ. 2553



ดาวน์โหลดได้เลยครับ

ขอขอบคุณที่มานะครับ : http://www.phimaimedicine.org/

แนวทางดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะเริ่มต้น ปี 2555

คู่มือการจัดการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะเริ่มต้น และ แผ่นพับการดูแลและการส่งต่อผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ปี 2555
โดยสมาคมโรคไตแห่งประเทศไทยและสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 





ดาวน์โหลดได้เลยครับ
หนังสือ : http://www.nephrothai.org/download/Howto_Managed_Care_Patient_Early_Stage_of_Chronic_Kidney_Disease.pdf
แผ่นพับ : http://www.nephrothai.org/download/Brochure_Care_Transfer_Chronic_Kidney_Disease_Patient.pdf


ขอบคุณที่มานะครับ : http://www.phimaimedicine.org/

วันเสาร์ที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2555

การใช้ยา Aspirin ในผู้ป่วยเบาหวาน 2011

สรุปเรื่องการใช้ยาแอสไพรินในผู้ป่วยเบาหวาน



                                    

-แนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวานเดิมจะให้ยา aspirin ในผู้ที่มีอายุมากกว่า 40 ปีหรือมีปัจจัยเสี่ยงของโรคหัวใจได้แก่ ประวัติโรคหัวใจและหลอดเลือดในครอบครัว ความดันโลหิตสูง สูบบุหรี่ ระดับ             ไขมันในเลือดผิดปกติ หรือมีไข่ขาวออกมาในปัสสาวะ 

-ปัจจุบันจะให้ยา aspirin ป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด (Primary Prevention) ใน                        ผู้ป่วยเบาหวานชายที่อายุมากกว่า 50 ปี หรือผู้ป่วยเบาหวานหญิงอายุมากกว่า 60 ปี              (10-year risk >10%) คือ มีอย่างน้อยหนึ่งปัจจัย ได้แก่ ประวัติโรคหัวใจและหลอดเลือดในครอบครัว ความดันโลหิตสูง สูบบุหรี่ ระดับไขมันในเลือดผิดปกติ หรือมีไข่ขาวออกมาในปัสสาวะ 

-ไม่แนะนำให้ในผู้มีปัจจัยเสี่ยงของโรคหัวใจและหลอดเลือดต่ำ(10-year risk <5%) เช่นในผู้ชายที่อายุน้อยกว่า 50 ปี ผู้หญิงที่อายุน้อยกว่า 60 ปี ซึ่งไม่มีปัจจัยเสี่ยงของโรคหัวใจและหลอดเลือด เนื่องจากมีโอกาสเกิดผลข้างเคียงของการมีเลือดออกเมื่อเปรียบเทียบกับประโยชน์ที่ได้รับ


-ในผู้ป่วยที่มีอายุเข้าได้ มีปัจจัยเสี่ยงอื่นๆหลายอย่างหรือมีปัจจัยเสี่ยงของโรคหัวใจและหลอดเลือดระดับปานกลาง(10-year risk 5–10%), ในผู้ที่อายุน้อยแต่มีปัจจัยเสี่ยงสูง หรือในผู้สูงอายุที่ไม่มีปัจจัยเสี่ยง ให้ใช้การตัดสินใจตามลักษณะทางคลินิกเข้าช่วย จนกว่าจะมีการศึกษาวิจัยที่ให้ข้อมูลมากขึ้น 


-ใช้ aspirin เป็นการป้องกันทุติยภูมิในผู้ป่วยเบาหวานที่เคยมีโรคหัวใจและหลอดเลือด


-ขนาดของ aspirin คือ 60-162 มก./วัน(75-162 มก./วัน) แต่ถ้าผู้ป่วยแพ้ยา aspirin จะให้เป็น clopidogrel (75 มก./วัน)


-การใช้ aspirin  ร่วมกับ clopidogrel จะใช้ในในช่วง 1 ปีแรกของการเกิด acute coronary syndrome


-การใช้ aspirin ในผู้ที่อายุน้อยกว่า 21 ปี ถือเป็นข้อห้าม เนื่องจากอาจจะมีความสัมพันธ์กับการเกิด Reye's syndrome ได้





ขอบคุณที่มา : http://www.phimaimedicine.org/2011/08/1297-aspirin-in-diabetes.html
และ Standard of medical care in diabetes 2011และจากแนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2554

แนวทางการรักษาความดันโลหิตสูง 2554

แนวทางการรักษาความดันโลหิสูง2554
สถาบันวิจัยวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ 

กรมการแพทย์   กระทรวงสาธารณสุข






http://www.dms.moph.go.th/imrta/images/ebook/pdf/ht_ebook.pdf

วันเสาร์ที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2555

แนวทางการดูแลโรคไตเรื้อรัง พ.ศ.2552

CPG แนวทางการดูแลโรคไตเรื้อรัง พ.ศ.2552

http://www.nephrothai.org/nephrothai_boffice/images_upload/news/178/files/guidelineckd%202009.pdf

ความรู้โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน หัวใจ อัมพาต

รู้ทันมหันตภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.....ภัยเงียบใกล้ตัว




http://www.thaincd.com/document/file/download/knowledge/%E0%B8%A0%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B9%80%E0%B8%87%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%9A%E0%B9%83%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%A7.pdf

คู่มือการคัดกรองประเมินความเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจ

คู่มือการคัดกรองประเมินความเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจ


http://thaincd.com/document/file/download/others/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%87.pdf

แบบคัดกรองความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง

แบบคัดกรองความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง

เชิญดาวน์โหลดได้เลยครับ

http://thaincd.com/document/hot%20news/%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B5.pdf

วันอังคารที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2555

แนวทางการรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซี 2552

แนวทางการรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซี 2552




แนวทางการรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบี Update  ก.ย.54 ครับ http://home.kku.ac.th/medicine/I-San/10.3/files/15-0.pdf


ปี 2552    http://www.liversocietythailand.org/Document/CHB_Guideline_13_03_10.pdf





วันพฤหัสบดีที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2555

เป้าหมายในการควบคุมระดับ LDL ในแนวทางการดูแลรักษาภาวะไขมันในเลือดสูงของ ESC/EAS ปี 2011

ในแนวทางการดูแลรักษาภาวะไขมันในเลือดสูงของ European Society of Cardiology (ESC) และ the European Atherosclerosis Society (EAS) ปี 2011 ได้กล่าวถึงเป้าหมายในการควบคุมระดับ LDL ไว้ว่า

เป้าหมายในการควบคุมภาวะไขมันในเลือดสูงโดยส่วนใหญ่มาจากข้อมูลการศึกษาโดยการใช้ LDL เป็นตัวชี้วัดการตอบสนองต่อการรักษา ดังนั้น LDL จึงยังเป็นเป้าหมายหลัก (primary target) ในกลวิธีส่วนใหญ่เพื่อการควบคุมไขมันในเลือด โดยในการศึกษาล่าสุดที่ผ่านมา Cholesterol Treatment Trialist’s Collaboration (CTT) เป็นการศึกษาแบบ meta-analysis ในประชากรมากกว่า 170,000 คน ยืนยันว่าการลด LDL มีความสัมพันธ์กับการลดการเกิด cardiovascular disease (CVD) อย่างชัดเจน โดยทุกๆ 40 mg/dl ของ LDL ที่ลดลงจะสัมพันธ์กับการลดลงของอัตราการป่วยและอัตราการเสียชีวิตจาก CVD ลงมาได้ร้อยละ 22
ซึ่งจะเห็นได้ว่าคำแนะนำใหม่ของ ESC/EAS เป็นดังนี้
1. ผู้ป่วยที่มี cardiovascular risk (CV risk) สูงมาก ควรรักษาให้ระดับ LDL ต่ำกว่า 70 mg/dl หรือลดลงมาอย่างน้อย 50% จากระดับเดิมถ้าไม่สามารถให้ LDL ลงมาน้อยกว่า 70 mg/dl (ระดับคำแนะนำ II, หลักฐานคำแนะนำระดับ A)
2. ผู้ป่วยที่มี CV risk สูง ควรรักษาให้ระดับ LDL ต่ำกว่า 100 mg/dl (ระดับคำแนะนำ IIa, หลักฐานคำแนะนำระดับ A)
3. ผู้ป่วยที่มี CV risk ระดับปานกลาง ควรรักษาให้ระดับ LDL ต่ำกว่า 115 mg/dl (ระดับคำแนะนำ IIa, หลักฐานคำแนะนำระดับ C)

ส่วนรายละเอียดการประเมินระดับความเสี่ยง cardiovascular risk สามารถอ่านเพิ่มได้จากในลิ้งค์นะครับ

Ref: http://www.escardio.org/guidelines-surveys/esc-guidelines/GuidelinesDocuments/guidelines-dyslipidemias-FT.pdf


ขอบคุณข้อมูลดีๆจาก : http://www.phimaimedicine.org/

แนวทางเวชปฏิบัติ โรคพิษสุนัขบ้า ฉบับปรับปรุง ปี 2555



Link download: http://www.50pansa.go.th/smf/index.php?PHPSESSID=427hj441cl0rg7q8iq3jh22jr2&action=dlattach;topic=735.0;attach=764


ขอบคุณข้อมูลดีๆจาก : http://www.phimaimedicine.org/

HAS-BLED bleeding risk score


แนวทางของ ESC แนะนำให้ประเมินความเสี่ยงในการมีเลือดออกจากการได้ยาต้านการแข็งตัวของเลือด (anticoagulant) ในผู้ป่วย atrial fibrillation ถ้าพบว่ามีคะแนนตั้งแต่ 3 ขึ้นไป ถือว่ามีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดเลือดออก โดยเฉพาะการมีเลือดออกในสมองซึ่งเป็นภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง ซึ่งต้องให้ความระมัดระวังและติดตามใกล้ชิดในการใช้ยา
โดยประเมินจาก 
-H: Hypertension (SBP มากกว่า 160 mmHg)   = 1 คะแนน
-A: Abnormal renal function (ได้รับการฟอกไตแบบถาวรหรือการปลูกถ่ายไตหรือ Cr 200 μmol/L ( มากกว่า ~2.3 mg/dL) = 1 คะแนน
     Abnormal liver function  (มีโรคตับเรื้อรัง เช่น ตับแข็ง หรือผลตรวจทางชีวเคมีพบหลักฐานของการมีความผิดปกติอย่างมีนัยยะสำคัญ เช่น bilirubin มากกว่า 2 เท่าของค่าปกติที่สูงสุด, การมี  AST/ALT/ALP มากกว่า 3 เท่าของค่าปกติที่สูงสุด)  = 1 คะแนน
-S: Stroke (มีประวัติเคยมีโรคหลอดเลือดสมองมาก่อน)  = 1 คะแนน
-B: Bleeding (มีประวัติเลือดออกรุนแรง หรือมีปัจจัยเสี่ยงต่อการมีเลือดออก)  = 1 คะแนน
-L: Labile INRs (หมายถึง INRs ไม่คงที่/สูง หรือไม่ได้ระดับในระยะเวลานาน (เช่น น้อยกว่า 60% ของระยะเวลาที่ควรจะได้ระดับ)  = 1 คะแนน
-E: Elderly (อายุมากกว่าหรือเท่ากับ 65 ปี)  = 1 คะแนน
-D: Drug Therapy (มีการใช้ยา เช่น antiplatelet agents, NSAID's)  = 1 คะแนน
      Alcohol intake (ดื่มสุราตั้งแต่ 8 ดริ้งขึ้นไป/สัปดาห์)  = 1 คะแนน
โดยการใช้ HAS-BLED bleeding risk score ร่วมกับ CHA2DS2-VASc Score ในการประเมินการใช้และความเสี่ยงในการมีเลือดออก


ขอบคุณข้อมูลดีๆจาก : http://www.phimaimedicine.org/


วันอาทิตย์ที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2555

แนวปฏิบัติของสถานพยาบาลในการให้บริการป้องกันการติดเชื้อจากการสัมผัส (Post exposure prophylaxis, PEP) ปี2552

แนวปฏิบัติของสถานพยาบาลในการให้บริการป้องกันการติดเชื้อจากการสัมผัส (Post exposure prophylaxis, PEP) ปี 2552

โดยสำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 



2 links นะครับ  มีสารบัญกับเนื้อหา 


2.http://www.gfaidscare.com/doc/pep2.pdf

แนวทางการดูแลรักษาความผิดปกติของระดับไขมันในเลือด

แนวทางการดูแลรักษาความผิดปกติของระดับไขมันในเลือด  แม้เก่าแต่ยังใช้ได้ดีอยู่ครับ
http://www.thaiheartclinic.com/guidelines/lipidguideline.pdf

แนวทางการรักษาโรคกระดูกพรุน 2553

แนวทางการรักษาโรคกระดูกพรุน 2553
http://www.rcost.or.th/thai/data/2554/Guideline_osteoporosis2011.pdf

วันเสาร์ที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2555

แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือด

แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือด
จากสมาคมแพทย์โรคหัวใจแห่งประเทศไทย


http://www.thaiheart.org/images/column_1292154183/Warfarin_Guideline_Version2.pdf

แนวทางการรักษาโรคหัวใจขาดเลือด

แนวทางการรักษาโรคหัวใจขาดเลือด
จากสมาคมแพทย์โรคหัวใจแห่งประเทศไทย
http://www.thaiheart.org/images/column_1291454908/CADGuideline.pdf

แนวทางการรักษาโรคหัวใจล้มเหลว

แนวทางการรักษาโรคหัวใจล้มเหลว 
จากสมาคมแพทย์โรคหัวใจแห่งประเทศไทย
http://www.thaiheart.org/images/column_1291454908/CHFGuideline.pdf 

แนวทางการบันทึกและตรวจประเมินคุณภาพการบันทึกเวชระเบียน สปสช.2553

 แนวทางการบันทึกและตรวจประเมินคุณภาพการบันทึกเวชระเบียน
 http://dn.hospital.tu.ac.th/tu_nursing/document/%E0%B9%81%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%8A%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99MRA-Guideline.pdf
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม
โดยสถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข 

http://pni.go.th/cpg/dementia-2008.pdf 

แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูง พ.ศ. 2555

ขอแนะนำแนวทางการรักษาออกใหม่ครับ  
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงในเวชปฏิบัติทั่วไป พ.ศ. 2555  
(Thai Hypertension Society: Guidelines in the Treatment of Hypertension 2012) 
โดยสมาคมความดันโลหิตสูงแห่งประเทศไทย 
Link  download:http://www.thaihypertension.org/2012%20Guideline%20in%20the%20Treatment%20of%20Hypertension.pdf